กำหนดการประชุม
(ร่าง) กำหนดการประชุม
“การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 5”
BioD5 plus : “People + Utilization + Sustainability”
ระหว่างวันที่ 10 – 14 กรกฎาคม 2561
โรงแรมไดมอนด์พลาซ่า จ.สุราษฎร์ธานี
จัดโดย
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วันพุธที่ 11 กรกฎาคม 2561 ณ ห้องประชุมประกายเพชร | |
08.00 – 09.00 น. | ลงทะเบียนและติดตั้งโปสเตอร์ |
09.00 – 10.00 น. | พิธีเปิดประชุม
กล่าวรายงาน โดย ศาสตราจารย์ นพ. ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ประธานคลัสเตอร์ทรัพยากรชีวภาพ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กล่าวเปิดประชุม โดย ศาสตราจารย์ ดร. สนิท อักษรแก้ว กล่าวต้อนรับ โดย อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี และ รศ.ดร. เจริญ นาคะสรรค์ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี |
มอบรางวัล Young BioD Award ปีที่ 3 โดย ศาสตราจารย์ ดร. สนิท อักษรแก้ว
มอบรางวัล Rising Star โดย ศาสตราจารย์ ดร. สนิท อักษรแก้ว |
|
การแสดงในพิธีเปิด จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | |
10.00 – 10.30 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
10.30 – 11.00 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Biodiversity Research & Management in Singapore
By Prof. Peter Ng Kee Lin, Lee Kong Chian Natural History Museum, National University of Singapore (NUS) |
11.00 – 11.30 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Biodiversity Collection “Different Vision…..Different Future” โดย ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญหา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
11.30 – 11.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Biodiversity Hotspots in Peninsular Thailand
By Assoc. Prof. Dr. Sukree Hajisamae, Faculty of Science and Technology, Prince of Songkla University, Pattani Campus |
11.50 – 12.10 น. | การบรรยายโดยผู้ได้รับรางวัล Young BioD Award
โดย ดร.พุทธรักษ์ ชมนันติ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง |
12.10 – 13.30 น. | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.30 – 16.45 น. | parallel sessions 1-3
1. Taxonomy and Systematics Networking 2. Ecosystem Services for Tourism 3. Plants for the Future |
16.45 – 18.00 น. | Poster & Exhibition
นำเสนอผลงานรูปแบบโปสเตอร์ และนิทรรศการความหลากหลายทางชีวภาพ |
18.00 – 21.00 น. | Welcome Dinner: Theme Southern BioD5plus |
Parallel sessions 1: Taxonomy and Systematics Networking ประธาน : ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญหา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
13.30 – 13.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง อนาคตที่สดใส ???…ของนักอนุกรมวิธานไทย
โดย ศ.ดร.สมศักดิ์ ปัญหา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
13.50 – 14.10 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Specimen collections management in Princess Maha Chakri Sirindhorn, Natural History Museum, Prince of Songkla University โดย ดร.พิพัฒน์ สร้อยสุข, พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา 50 พรรษา |
14.10 – 14.30 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง การประเมินสถานภาพนักอนุกรมวิธานในประเทศไทย
โดย ดร.เอื้องฟ้า บรรเทาวงษ์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี |
14.30 – 14.50 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
14.50 – 15.05 น. | Oral 1: รายงานการค้นพบ และอนุกรมวิธานของแมงมุมสกุล Atmetochilus Simon, 1887 ในประเทศไทย
โดย นายชวกร ขุนเศรษฐ์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
15.05 – 15.20 น. | Oral 2: อนุกรมวิธานของผึ้งในเผ่า Anthidiini (Hymenoptera Megachilidae) ในประเทศไทย โดย นายภากร นลินรชตกัญจน์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
15.20 – 15.35 น. | Oral 3: การจัดทำบัญชีรายชื่อของสัตว์กลุ่ม arachnida ในประเทศไทย
โดย นายวรัตถ์ ศิวายพราหมณ์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
15.35 – 15.50 น. | Oral 4: พันธุศาสตร์เซลล์ของแย้เส้น (Leiolepis belliana) ในจังหวัดปัตตานี โดย นายสิทธิศักดิ์ จันทรัตน์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
15.50 – 16.05 น. | Oral 5: ความหลากชนิดและความชุกชุมของ salps ในบริเวณอ่าวไทยตอนใน โดย นางสาวหัทยา จิตรพัสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Parallel sessions 2: Ecosystem Services for Tourism ประธาน : ดร.ยุวนันท์ สันติทวีฤกษ์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ |
|
13.30 – 13.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง ต้นทุนทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมกับการท่องเที่ยว
โดย ดร.ยุวนันท์ สันติทวีฤกษ์, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ |
13.50 – 14.10 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง การท่องเที่ยวชมวาฬบรูด้า สู่การจัดการท้องถิ่น
โดย นางสาวพัชราภรณ์ เยาวสูต, ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนบน |
14.10 – 14.30 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง ฉลามบุก: พลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส เพื่อการท่องเที่ยว
โดย นายทัศพล กระจ่างดารา, ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงอันดามันตอนบน (ภูเก็ต) กรมประมง |
14.30 – 14.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง การท่องเที่ยวชุมชนอ่าวท้องตมใหญ่ จ.ชุมพร
โดย ว่าที่พันตรี วัชรินทร์ แสวงการ, ศูนย์ดำน้ำชุมชนเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลท้องตมใหญ่ |
14.50 – 15.10 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Prioritizing zonal planning in protecting key habitats
under baseline information insufficiency by Mr. Derun Lin, Shantou University |
15.10 – 15.30 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
15.30 – 15.45 น. | Oral 1: ศึกษาทรัพยากรชีวภาพเด่นในหุบเขาลำพญาและ การใช้ประโยชน์ตามภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการจัดการทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืนในตำบลลำพะยา จังหวัดยะลา โดย นายซูไบดี โตะโมะ, มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา |
15.45 – 16.00 น. | Oral 2: การศึกษามูลค่าของน้ำในระบบนิเวศกลุ่มป่าตะวันออก
โดย นายธรรมนูญ เต็มไชย, ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดเพชรบุรี |
16.00 – 16.15 น. | Oral 3: เส้นทางท่องเที่ยวเชิงอาหารพื้นถิ่นในพื้นที่เกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง (ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา) โดย ผศ. ดร.นุกูล ชิ้นฟัก, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ |
16.15 – 16.30 น. | Oral 4: ความเหมาะสมของเกาะท้ายเพลาในเขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง เพื่อการเป็นแหล่งดำน้ำ โดย นายสิทธิพร เพ็งสกุล, มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
16.30 – 16.45 น. | Oral 5: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชาวประมง และโลมาบริเวณท่าเรือเอนกประสงค์ดอนสัก จังหวัดสุราษฏร์ธานี
โดย นางสาวโชติกา พลทองพัท, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
Parallel sessions 3: Plants for the future ประธาน : ดร. พงษ์ศักดิ์ พลเสนา, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช |
|
13.30 – 13.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง “กัญชง พืชเศรษฐกิจตัวใหม่ของประเทศไทย
โดย ดร.วีระชัย ณ นคร, สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ |
13.50 – 14.10 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Spectacular wild orchids of Thailand
โดย ดร.สันติ วัฒฐานะ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี |
14.10 – 14.30 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง ความหลากหลายของพันธุ์ทุเรียนไทย
โดย ผศ.ดร.อุษณีย์ พิชกรรม, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
14.30 – 14.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาสมุนไพรเพื่อสุขภาพของชุมชนจังหวัดพัทลุงและสงขลา
โดย คุณเบญจวรรณ บัวขวัญ วิทยาลัยภูมิปัญญาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ (ผู้แทนสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)) |
14.50 – 15.05 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
15.05 – 15.20 น. | Oral 1: การสำรวจประชากรปรงชัยภูมิ (Cycas elephantipes) ในอุทยานแห่งชาติป่าหินงามจังหวัดชัยภูมิ
โดย นางสาวกวิสรา เฮงธนารัฐ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี |
15.20 – 15.35 น. | Oral 2: การศึกษาการเสื่อมสภาพและการอนุรักษ์ฟอสซิลไม้กลายเป็นหิน
ในอุทยานแห่งชาติไม้กลายเป็นหิน (เตรียมการ) จังหวัดตาก โดย นางจิราภรณ์ อรัณยะนาค, มหาวิทยาลัยศิลปากร |
15.35 – 15.50 น. | Oral 3: พรรณพืชในป่าชุมชนภูประดู่เฉลิมพระเกียรติ: การอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์ โดย ดร.เทียมหทัย ชูพันธ์, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |
15.50 – 16.05 น. | Oral 4: การสำรวจจำนวนและการแพร่กระจายของพลับพลึงธาร
โดย คุณศจี กองสุวรรณ, อีสต์ ฟอรั่ม |
16.05 – 16.20 น. | Oral 5: การปกปักพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืช หม้อข้าวหม้อแกงลิงเสือ สุราษฎร์ Nepenthes suratensis โดย ดร.สรายุทธ อ่อนสนิท, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
16.20 – 16.35 น. | Oral 6: การขยายพันธุ์เท้ายายม่อมเพื่อการอนุรักษ์
โดย ดร.สุพินญา บุญมานพ, กรมวิชาการเกษตร |
วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม 2561 ณ ห้องประกายเพชร | |
08.30 – 08.35 น.
08.35 – 09.05 น. |
มอบของที่ระลึกให้กับผู้สนับสนุนการประชุม
การบรรยายพิเศษเรื่อง Baseline status of the Indo-Pacific humpback dolphin, Sousa chinensis, in the Gulf of Thailand: What do we know and what will we need? by Dr. Shiang-Lin Huang, Shantou University,Guangdong Province, China |
9.05 – 9.35 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Distribution and habitat characteristics of the Indo-Pacific Humpback Dolphin, Sousa chinensis, in the Northern Beibu Gulf, China
by Dr. Haiping Wu, College of Ocean, Qinzhou University, China |
09.35 – 10.05 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง ประสบการณ์การศึกษาอนุกรมวิธานจากรุ่นสู่รุ่น
โดย ศ. ดร.เสาวภา อังสุภานิช, สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
10.05 – 10.25 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Satun UNESCO Global Geopark : อุทยานธรณีโลกแห่งแรกในประเทศไทย โดย นายทรงภพ วารินสะอาด, Satun UNESCO Global Geopark |
10.25 – 10.40 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
10.40 – 11.00 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง วาระแห่งชาติการวิจัยเสือใหญ่ในประเทศไทย
โดย ดร.อนรรฆ พัฒนวิบูลย์, สมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่า (WCS) แห่งประเทศไทย |
11.00 – 11.20 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง สวนสัตว์เพื่อการอนุรักษ์นอกถิ่นอาศัย
โดย น.สพ.ดร.บริพัตร ศิริอรุณรัตน์, |
11.20 – 11.40 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง An Update on Flora of Thailand Project
โดย ดร.พงษ์ศักดิ์ พลเสนา, กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช |
11.40 – 12.00 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของไรน้ำนางฟ้า และความก้าวหน้าการวิจัยแพลงก์ตอนสัตว์ในประเทศไทย
โดย ศ. ดร.ละออศรี เสนาะเมือง, มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
12.00 – 13.30 น. | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.30 – 16.50 น. | parallel sessions 4-6
4. Mushroom and other microbes 5. Advance in Marine Research and Development 6. Wildlife & Animal Research and Conservation |
18.00 – 20.00 น. | โปรแกรมศึกษาดูงาน: Program A : firefly study at Bang Bai Mai Canal วิทยากรโดย ดร.วีระชัย ณ นคร สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
(เฉพาะผู้ที่ลงทะเบียนดูงานเท่านั้น) |
Parallel sessions 4: Mushroom and other microbes ประธาน: ศ.ดร.นิวัฒ เสนาะเมือง มหาวิทยาลัยขอนแก่น |
|
13.30 – 13.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง 20 ปี การเพาะเห็ดในประเทศไทย
โดย นายชาญยุทธ์ ภาณุทัต, นายกสมาคมวิจัยและเพาะเห็ดแห่งประเทศไทย |
13.50 – 14.10 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Spawn production technology & innovation
โดย ศ. ดร.นิวัฒ เสนาะเมือง, นายกสมาคมราวิทยาแห่งประเทศไทย |
14.10 – 14.30 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง ความก้าวหน้าการศึกษาอนุกรมวิธานของเห็ดและเห็ดทรัฟเฟิลไทย
โดย ศ. ดร.สายสมร ลำยอง, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
14.30 – 14.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง การเพาะเลี้ยงเห็ดฟางจากอดีตถึงปัจจุบัน
โดย นายสมจิตร จันทร์แตน, เกษตรผู้เพาะเลี้ยงเห็ดฟาง จังหวัดนนทบุรี |
14.50 – 15.20 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
15.20 – 15.40 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง การพัฒนาเห็ดฟางแชมป์เปี้ยนส์เห็ดไทย
โดย อ.เยาวภา อร่ามศิริรุจิเวทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
15.40 – 15.55 น. | Oral 1: ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของเห็ดทางการแพทย์สกุล Phellinus
โดย ผศ. ดร.ขวัญเรือน นาคสุวรรณ์กุล, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
15.55 – 16.05 น. | Oral 2: การตรวจสอบดีเอ็นเอเห็ดระโงกที่กินได้ด้วยไพรเมอร์ที่มีความจำเพาะ
โดย ดร.ณัฐวุฒิ วิริยะธนาวุฒิวงษ์, |
16.05 – 16.20 น. | Oral 3: รายงานการพบเห็ดพิษและกลุ่มของพิษจากพื้นที่ป่าดงใหญ่ จังหวัดอำนาจเจริญ โดย นางสาวทักษพร ธรรมรักษ์เจริญ, |
16.20 – 16.35 น. | Oral 4: ผลของวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษต่อการเจริญของเส้นใยและผลผลิตเห็ดนางรมภูฏาน
โดย ดร.ประภาพรรณ ซอหะซัน, มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี |
16.35 – 16.50 น. | Oral 5: รายงานการพบเห็ดสกุล Hohenbuehelia ที่ย่อยสลายไม้แต่มีคุณสมบัติจับไส้เดือนฝอยเป็นอาหารได้
โดย นางสาวมณีรัตน์ พบความสุข, |
Parallel sessions 5: Advance in marine research and development ประธาน : ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
|
13.30 – 13.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง A Highlight on marine area-based research in Hat Yonglam Ko Muk, Hat Chao Mai National Park
โดย ผศ. ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน, มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
13.50 – 14.10 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Assessment of genetic diversity in Porites lutea and its associated microbial communities using high-throughput sequencing technology โดย ดร.วิรัลดา ภูตะคาม, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ |
14.10 – 14.25 น. | Oral 1: การจัดทำแผนที่หญ้าทะเลและทรัพยากรชายฝั่งโดยประยุกต์หุ่นยนต์อากาศยานขนาดเล็ก บริเวณหาดหยงหลำและเกาะมุก อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม โดย ดร.กฤษนัยน์ เจริญจิตร, มหาวิทยาลัยบูรพา |
14.25 – 14.40 น. | Oral 2: การติดปรสิต Nematopsis sp. ในหอยสองฝาทะเลบางชนิด ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจบริเวณอ่าวบ้านดอน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย ผศ. ดร.กานดา ค้ำชู, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
14.40 – 14.55 น. | Oral 3: ความหลากชนิดของหอยทะเลบริเวณอ่าวบุญคง อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง โดย นายณัฐวุฒิ จันทร์เหล็ก, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
14.55 – 15.15 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
15.15 – 15.30 น. | Oral 4: ความหลากหลายและการแพร่กระจายของปะการังแข็งบริเวณหมู่เกาะมะริด (Myeik Archipelago) ประเทศเมียนมาร์
โดย ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี, มหาวิทยาลัยบูรพา |
15.30 – 15.45 น. | Oral 5: ผลผลิตปฐมภูมิของปะการังดอกกะหล่ำ (Pocillopora damicornis) จากแหลมพันวา จังหวัดภูเก็ต โดย นายปฐมพงศ์ พรามณีโชติ, สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
15.45 – 16.00 น. | Oral 6: ประเมินความสามารถเบื้องต้นของสาหร่ายใบมะกรูด (Halimeda macroloba) ในการลดคาร์บอนในบรรยากาศ โดย นางสาวรัชณีย์ แก้วศรีขาว, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
16.00 – 16.15 น. | Oral 7: การเกิดอาการโรคขาวในปะการังดอกเห็ด Fungia fungites บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันตก
โดย นายวัชระ สามสุวรรณ์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
16.15 – 16.30 น. | Oral 8: การอนุรักษ์ความหลากหลายของสัตว์น้ำพลอยจับได้บริเวณ หมู่เกาะช้าง จังหวัดตราด โดย นายวิชิน สืบปาละ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
16.30 – 16.45 น. | Oral 9: การแพร่กระจายของหญ้าทะเลและปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง
โดย ดร.เอกลักษณ์ รัตนโชติ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
Parallel sessions 5: Advance in marine research and development ประธาน : ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
|
13.30 – 13.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง A Highlight on marine area-based research in Hat Yonglam Ko Muk, Hat Chao Mai National Park
โดย ผศ. ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน, มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
13.50 – 14.10 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Assessment of genetic diversity in Porites lutea and its associated microbial communities using high-throughput sequencing technology โดย ดร.วิรัลดา ภูตะคาม, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ |
14.10 – 14.25 น. | Oral 1: การจัดทำแผนที่หญ้าทะเลและทรัพยากรชายฝั่งโดยประยุกต์หุ่นยนต์อากาศยานขนาดเล็ก บริเวณหาดหยงหลำและเกาะมุก อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม โดย ดร.กฤษนัยน์ เจริญจิตร, มหาวิทยาลัยบูรพา |
14.25 – 14.40 น. | Oral 2: การติดปรสิต Nematopsis sp. ในหอยสองฝาทะเลบางชนิด ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจบริเวณอ่าวบ้านดอน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย ผศ. ดร.กานดา ค้ำชู, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
14.40 – 14.55 น. | Oral 3: ความหลากชนิดของหอยทะเลบริเวณอ่าวบุญคง อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง โดย นายณัฐวุฒิ จันทร์เหล็ก, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
14.55 – 15.15 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
15.15 – 15.30 น. | Oral 4: ความหลากหลายและการแพร่กระจายของปะการังแข็งบริเวณหมู่เกาะมะริด (Myeik Archipelago) ประเทศเมียนมาร์
โดย ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี, มหาวิทยาลัยบูรพา |
15.30 – 15.45 น. | Oral 5: ผลผลิตปฐมภูมิของปะการังดอกกะหล่ำ (Pocillopora damicornis) จากแหลมพันวา จังหวัดภูเก็ต โดย นายปฐมพงศ์ พรามณีโชติ, สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
15.45 – 16.00 น. | Oral 6: ประเมินความสามารถเบื้องต้นของสาหร่ายใบมะกรูด (Halimeda macroloba) ในการลดคาร์บอนในบรรยากาศ โดย นางสาวรัชณีย์ แก้วศรีขาว, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
16.00 – 16.15 น. | Oral 7: การเกิดอาการโรคขาวในปะการังดอกเห็ด Fungia fungites บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันตก
โดย นายวัชระ สามสุวรรณ์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
16.15 – 16.30 น. | Oral 8: การอนุรักษ์ความหลากหลายของสัตว์น้ำพลอยจับได้บริเวณ หมู่เกาะช้าง จังหวัดตราด โดย นายวิชิน สืบปาละ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
16.30 – 16.45 น. | Oral 9: การแพร่กระจายของหญ้าทะเลและปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง
โดย ดร.เอกลักษณ์ รัตนโชติ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
Parallel sessions 5: Advance in marine research and development ประธาน : ผศ.ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
|
13.30 – 13.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง A Highlight on marine area-based research in Hat Yonglam Ko Muk, Hat Chao Mai National Park
โดย ผศ. ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน, มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
13.50 – 14.10 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง Assessment of genetic diversity in Porites lutea and its associated microbial communities using high-throughput sequencing technology โดย ดร.วิรัลดา ภูตะคาม, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ |
14.10 – 14.25 น. | Oral 1: การจัดทำแผนที่หญ้าทะเลและทรัพยากรชายฝั่งโดยประยุกต์หุ่นยนต์อากาศยานขนาดเล็ก บริเวณหาดหยงหลำและเกาะมุก อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม โดย ดร.กฤษนัยน์ เจริญจิตร, มหาวิทยาลัยบูรพา |
14.25 – 14.40 น. | Oral 2: การติดปรสิต Nematopsis sp. ในหอยสองฝาทะเลบางชนิด ที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจบริเวณอ่าวบ้านดอน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดย ผศ. ดร.กานดา ค้ำชู, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
14.40 – 14.55 น. | Oral 3: ความหลากชนิดของหอยทะเลบริเวณอ่าวบุญคง อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง โดย นายณัฐวุฒิ จันทร์เหล็ก, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
14.55 – 15.15 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
15.15 – 15.30 น. | Oral 4: ความหลากหลายและการแพร่กระจายของปะการังแข็งบริเวณหมู่เกาะมะริด (Myeik Archipelago) ประเทศเมียนมาร์
โดย ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี, มหาวิทยาลัยบูรพา |
15.30 – 15.45 น. | Oral 5: ผลผลิตปฐมภูมิของปะการังดอกกะหล่ำ (Pocillopora damicornis) จากแหลมพันวา จังหวัดภูเก็ต โดย นายปฐมพงศ์ พรามณีโชติ, สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
15.45 – 16.00 น. | Oral 6: ประเมินความสามารถเบื้องต้นของสาหร่ายใบมะกรูด (Halimeda macroloba) ในการลดคาร์บอนในบรรยากาศ โดย นางสาวรัชณีย์ แก้วศรีขาว, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
16.00 – 16.15 น. | Oral 7: การเกิดอาการโรคขาวในปะการังดอกเห็ด Fungia fungites บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันตก
โดย นายวัชระ สามสุวรรณ์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
16.15 – 16.30 น. | Oral 8: การอนุรักษ์ความหลากหลายของสัตว์น้ำพลอยจับได้บริเวณ หมู่เกาะช้าง จังหวัดตราด โดย นายวิชิน สืบปาละ, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
16.30 – 16.45 น. | Oral 9: การแพร่กระจายของหญ้าทะเลและปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง
โดย ดร.เอกลักษณ์ รัตนโชติ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
วันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม 2561 ณ ห้องประชุมประกายเพชร | |
09.00 – 09.20 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง แล่นฝ่าฟาร์มหอย “รม แครง แมลงภู่” และหอยเศรษฐกิจของไทย
โดย ดร.ชวลิต วิทยานนท์, นักวิชาการอิสระ กรรมการวิชาการมูลนิธิสืบนาคะเสถียร |
09.20 – 09.40 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง ผ้าไหมพุมเรียง และการสืบสานต่อยอด
โดย นายธีรพันธุ์ จันทร์เจริญ, รองผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี |
09.40 – 10.00 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง check-in จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โดย นางสาวจินตนา สุวรรณรัตน์, ผู้อำนวยการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานสุราษฎร์ธานี |
10.00 – 10.30 น. | พักรับประทานอาหารว่าง |
10.30 – 10.50 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง ทรัพยากรชีวภาพท้องถิ่น เศรษฐกิจ ชุมชนอ่าวบ้านดอน
จ.สุราษฎร์ธานี โดย นายสมชาย สินมา, รองประธานหอการค้า ด้านการท่องเที่ยว |
10.50 – 11.10 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง การท่องเที่ยวชมโลมา และแนวคิดการจัดตั้ง Dolphin Research and Management Center
โดย ดร.สุวัฒน์ จุฑาพฤทธิ์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี |
11.10 – 11.30 น. | การบรรยายพิเศษเรื่อง กรอบการสนับสนุนงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพ
โดย นางรังสิมา ตัณฑเลขา, ผู้อำนวยการโปรแกรมการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ สวทช. |
11.30 – 12.00 น. | มอบรางวัลภาคบรรยายและภาคโปสเตอร์ดีเด่น และกล่าวปิดการประชุม |
12.00 – 13.00 น. | พักรับประทานอาหารกลางวัน |
13.00 – 19.10 น. | โปรแกรมศึกษาดูงาน (เฉพาะผู้ที่ลงทะเบียนศึกษาดูงานเท่านั้น)
Program B: Tachang Natural Hot Spring Management Program C : Local life at Bang Bai Mai Canal Program D : Community-based tourism at Banthampeung Program E : Khao Sok National Park / Ratchaprapa Dam Exclusive Trip : Sea Farming & Lilet Mangrove Forest |
วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม 2561 | |
08.00 – 16.30 น. | โปรแกรมศึกษาดูงาน (เฉพาะผู้ที่ลงทะเบียนศึกษาดูงานเท่านั้น)
Program D : Community-based Tourism at Banthampeung Program E : Khao Sok National Park / Ratchaprapa Dam Exclusive Trip : Sea Farming & Lilet Mangrove Forest |