ประกาศผลการคัดเลือกบทคัดย่อ
คณะกรรมการวิชาการฯ ได้คัดเลือกการนำเสนอ “ผลงานวิชาการภาคบรรยาย (Oral) และภาคโปสเตอร์(Poster)” สำหรับผู้สนใจเข้าร่วมการประชุมวิชาการ “การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ” ครั้งที่ 5 ภายใต้หัวข้อ BioD5 plus : “People + Utilization + Sustainability” ระหว่างวันที่ 10 – 14 กรกฎาคม 2561 ณ โรงแรมไดมอนด์พลาซ่า จังหวัดสุราษฎร์ธานี ตามรายชื่อท้ายประกาศ
ผู้ที่ได้รับการคัดเลือกตามประกาศแนบท้าย ต้องชำระค่าลงทะเบียน ภายในวันที่ 15 พฤษภาคม 2561 โดยชำระค่าลงทะเบียนมาที่
ชื่อบัญชี : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ธนาคาร : ธนาคารกรุงเทพฯ จำกัด (มหาชน)
ประเภทบัญชี : สะสมทรัพย์
หมายเลขบัญชี : 080-00000-1-0
หากชำระเงินแล้ว สามารถส่งหลักฐานการโอนเงินมายังอีเมล์ biod@biotec.or.th และหากไม่ชำระค่าลงทะเบียนภายในเวลาที่กำหนด ถือว่าท่านสละสิทธิ์
หมายเหตุ
รายชื่อแนบท้ายประกาศผลการคัดเลือกบทคัดย่อ
ลำดับ | ชื่อ-นามสุล | หน่วยงาน | ชื่อเรื่อง | ตัดสินผลงาน |
1 | Mr. Curtis Radcliffe | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | Home range of Monocled Cobra (Naja kaouthia) and Indo-Chinese Spitting Cobra (Naja siamensis) in Sakaerat Biosphere Reserve, Nakhon Ratchasima province |
oral |
2 | Assoc. Prof. Dr. George A. Gale | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี | Macaques and snakes have large, but variable, impacts on the nesting success of evergreen forest birds | oral |
3 | Mr. Gregory J. Irving | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | Study of the effects of forest fragmentation on avian biodiversity in Chiew Larn Reservoir | oral |
4 | Miss Katie Oliver | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | The short lived conservation importance of plantation forests for (Nycticebus bengalensis) | poster |
5 | Assoc. Prof. Dr. Philp D. Round | มหาวิทยาลัยมหิดล | Undiscovered avian diversity: South-East Asian mainland Oriental White-eyes Zosterops palpebrosus constitute two unrelated lineages | oral |
6 | Mr. Wyatt Petersen | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | พื้นที่หย่อมป่าขนาดเล็กที่โดดเดี่ยวและผ่านการรบกวน : การอนุรักษ์สัตว์ผู้ล่าขนาดเล็กในพื้นที่ที่ถูกละเลย | poster |
7 | นางสาวกนกศรี ทัศนาทัย | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | รา 7 ชนิดใหม่และ 1 ชนิดที่รายงานครั้งแรกในสกุล Ophiocordyceps ที่เพอริทีเซียอยู่บนก้านราในประเทศไทย | poster |
8 | นางสาวกรกนก วงษ์วิลา | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | ความหลากชนิดของสัตว์ผู้ผสมเกสรของดอกสาบม่วง (Praxelis clematidea R.M. King & H. Rob.) ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น |
poster |
9 | ดร.กฤษนัยน์ เจริญจิตร | มหาวิทยาลัยบูรพา | การจัดทำแผนที่หญ้าทะเลและทรัพยากรชายฝั่งโดยประยุกต์หุ่นยนต์อากาศยานขนาดเล็ก บริเวณหาดหยง
หลำและเกาะมุก อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม |
oral |
10 | นางสาวกวิสรา เฮงธนารัฐ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี | การสำรวจประชากรปรงชัยภูมิ (Cycas elephantipes) ในอุทยานแห่งชาติป่าหินงาม จังหวัดชัยภูมิ | oral |
11 | นางสาวกัลยารัตน์ จันต๊ะวงศ์ | คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | การศึกษาพลวัตรของสังคมพืชและการเก็บกักคาร์บอนในพื้นที่ฟื้นฟูป่าเพื่อการประยุกต์ใช้ในการออกแบบวิธีการฟื้นฟูป่าที่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ | poster |
12 | ผศ. ดร.กานดา ค้ำชู | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การติดปรสิต Nematopsis sp. ในหอยสองฝาทะเลบางชนิดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ บริเวณอ่าวบ้านดอน อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี |
oral |
13 | ดร.แก้วภวิกา รัตนจันทร์ | กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | สถานภาพของแมลงคุ้มครองในพื้นที่กลุ่มป่าภูเขียว-น้ำหนาว | poster |
14 | ผศ. ขนิษฐา กีรติภัทรกาญจน์ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | เพศและรูปร่างของรูปูมีผลต่อลักษณะของรูปูก้ามดาบ Uca rosea | poster |
15 | นางสาวขวัญชนก
สินสวนแตง |
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี | การใช้ประโยชน์จากต้นมะเดื่ออุทุมพร (Ficus racemosa L.) ของสัตว์ กลุ่มนกในบริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำซองกาเลีย จังหวัดกาญจนบุรี |
poster |
16 | ผศ. ดร.ขวัญเรือน
นาคสุวรรณ์กุล |
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของเห็ดทางการแพทย์สกุล Phellinus | oral |
17 | นายจตุรงค์ คำหล้า | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | ราพัฟบอลสายพันธุ์ใหม่และบันทึกใหม่จากภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย | poster |
18 | นางสาวจารุวรรณ
เชื้อสีหะรณชัย |
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราผู้ย่อยสลายเศษซากไม้ สกุล Rhexoacrodictys และ Endophragmiella จากประเทศไทย | poster |
19 | นางจิราภรณ์ อรัณยะนาค | มหาวิทยาลัยศิลปากร | แนวทางในการอนุรักษ์ฟอสซิลไม้กลายเป็นหิน ในอุทยานแห่งชาติไม้กลายเป็นหิน (เตรียมการ) จังหวัดตาก | oral |
20 | นางสาวจุฑามาศ พุทธยากูล | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การเปลี่ยนแปลงการปกคลุมพื้นที่ของปะการังบนซากปะการังโต๊ะที่ตายจากปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว ปี พ.ศ. 2553 บริเวณอ่าวสุเทพ หมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา |
poster |
21 | นางสาวจุรีรัตน์ เอื้อพัฒนากิจ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การศึกษาวิธีที่เหมาะสมในการบ่มตัวอย่างดินและคัดแยกราดินจากแหล่งน้ำพุร้อนธรรมชาติ | poster |
22 | นายเจริญมี แช่มช้อย | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ปริมาณการสะสมของไมโครพลาสติกในหอยกะพง (Musculus panhai) บริเวณเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี | poster |
23 | นายชวกร ขุนเศรษฐ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | รายงานการค้นพบ และอนุกรมวิธานของแมงมุมสกุล Atmetochilus Simon, 1887 ในประเทศไทย | oral |
24 | นางสาวโชติกา พลทองพัท | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชาวประมงและโลมาบริเวณท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก จ.สุราษฏร์ธานี | oral |
25 | นายซูไบดี โตะโมะ | มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา | ศึกษาทรัพยากรชีวภาพเด่นในหุบเขาลำพญาและการใช้ประโยชน์ตามภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อการจัดการทรัพยากรชีวภาพอย่างยั่งยืนในตำบลลำพะยา จังหวัดยะลา | oral |
26 | นางสาวฐิฏินันท์ เหรียญทอง | มหาวิทยาลัยมหิดล | การศึกษาลักษณะการกระจายพันธุ์และการอนุรักษ์รักษาพันธุ์ต้นรักในสภาพปลอดเชื้อ | poster |
27 | นางสาวณัฏฐธิดา สิงห์บำรุง | มหาวิทยาลัยมหิดล | การประเมินการงอกของเมล็ดปีบทอง (พืชสมุนไพร) นอกถิ่นอาศัยและในสภาพปลอดเชื้อสำหรับเป็นวัสดุเริ่มต้นเพื่อการขยายพันธุ์ การอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน | poster |
28 | นางสาวณัฐนิช เยี่ยมไธสง | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | รูปแบบการกระจายเมล็ดพรรณไม้ในสังคมไม้ยืนต้นในมหาวิทยาลัยขอนแก่น | poster |
29 | นายณัฐวุฒิ วิริยะธนาวุฒิวงษ์ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การตรวจสอบดีเอ็นเอเห็ดระโงกที่กินได้ด้วยไพรเมอร์ที่มีความจำเพาะ | oral |
30 | นายณัฐวุฒิ จันทร์เหล็ก | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ความหลากชนิดของหอยทะเลบริเวณอ่าวบุญคง อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง | oral |
31 | นางสาวดิศนัดดา ก้อนคำ | มหาวิทยาลัยนเรศวร | ความหลากหลายของเห็ดในวงศ์ Ganodermataceae (Basidiomycota) ที่พบในเขตพื้นที่บ้านเผ่าไทย อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก | poster |
32 | ดร.ดุสิต งอประเสริฐ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | พื้นที่แกน กับชายขอบป่า: สถานภาพของเสือลายเมฆ Neofelis nebulosa ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองแสง | oral |
33 | นายตาวฟิร มะ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี | ทัศนคติของชาวประมงกับโลมาบริเวณปากแม่น้ำดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี | poster |
34 | นายไตรเทพ สุดสำอางค์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี | ฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียจากของเหลวในหม้อปิด ของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง เสือสุราษฎร์ Nepenthes thorelii (Suratensis) |
poster |
35 | นางสาวทักษพร
ธรรมรักษ์เจริญ |
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | รายงานการพบเห็ดพิษและกลุ่มของพิษจากพื้นที่ป่าดงใหญ่
จังหวัดอำนาจเจริญ |
oral |
36 | นายทัพประดิษฐ์ มิตรเปรียญ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | กระบวนการพัฒนาเซลล์สืบพันธุ์ขั้นสมบูรณ์ของปลาคางคก Allenbatrachus grunniens (Linnaeus, 1758) จากปากแม่น้ำปราณบุรี ประเทศไทย |
poster |
37 | นายทิวา โอ่งอินทร์ | สถาบันพัฒนาและฝึกอบรมโรงงานต้นแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | การกระจาย สถานภาพด้านการอนุรักษ์และผลกระทบจากการรบกวนโดยมนุษย์ต่อนกในกลุ่มไก่ในพื้นที่ป่าที่
ราบต่ำทางภาคใต้ของประเทศไทย |
oral |
38 | ดร.เทียมหทัย ชูพันธ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา | พรรณพืชในป่าชุมชนภูประดู่เฉลิม
พระเกียรติ : การอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์ |
oral |
39 | นายธนภัทร กลับชุ่ม | มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ | ความหลากหลายของนกชายเลนที่ลงหากินในบ่อนาเกลือที่ถูกทิ้งร้าง
จังหวัดเพชรบุรี |
oral |
40 | ดร.ธนากร จันทสุบรรณ | มหาวิทยาลัยสงขลาคนรินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | ชนิดนกชายเลนอพยพในอ่าวปัตตานี จังหวัดปัตตานี | oral |
41 | นายธรรมนูญ เต็มไชย | ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาาติ จังหวัดเพชรบุรี | การศึกษามูลค่าของน้ำในระบบนิเวศกลุ่มป่าตะวันออก | oral |
42 | ผศ. ดร.ธรรมศักดิ์ ยีมิน | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การจัดการหอยตะเภา (Donax scortum) บริเวณหาดปากเมง จังหวัดตรัง เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน | poster |
43 | นางสาวธิดาพร เถื่อนเภา | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ผลของขนาดวัสดุเพาะต่อการเจริญของเส้นใยและการเกิดดอกของเห็ดโคนญี่ปุ่น | poster |
44 | นายธีระพงษ์ พริกชูผล | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การเปรียบเทียบวิธีการเก็บตัวอย่างสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่ในระบบนิเวศหาดทราย : กรณีศึกษาหาดปากเมง จังหวัดตรัง | poster |
45 | นายนครินทร์ สุวรรณราช | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | ทรัฟเฟิลจากภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย | poster |
46 | นางสาวนพรัตน์ วรรณเทศ | มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม | เห็ดร่มก้านดำ (Marasmius, Agaricales) ในสวนพฤกษศาสตร์บ้านร่มเกล้าในพระราชดำริ จังหวัดพิษณุโลก | poster |
47 | ดร.นรินทร์รัตน์ คงจันทร์ตรี | มหาวิทยาลัยบูรพา | ความหลากหลายและการแพร่กระจายของปะการังแข็งบริเวณหมู่เกาะมะริด (Myeik Archipelago) ประเทศ
เมียนมาร์ |
oral |
48 | ดร.นฤมล ตันติพิษณุ | มหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ความสำคัญของข้อมูลที่ไม่ได้ทำการเผยแพร่ต่อการระบุพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงใน
ประเทศไทย |
oral |
49 | นายนัฐวุฒิ บุญยืน | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความหลายหลายของราจิ๋วกลุ่มเอนโดไฟท์ที่อยู่ในข้าวสายพันธุ์ไทย (Oryza sativa L.) เก็บมาจากจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดชัยนาทของประเทศไทย | poster |
50 | นางสาวนันทนัช
อานามนารถ |
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การปรับปรุงอาหารเลี้ยงเชื้อราทำลายแมลง Ophiocordyceps camponoti-leonardi และ Ophiocordyceps camponoti-saundersi |
poster |
51 | นางสาวนันทวรรณ เทียมทัน | มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี | ชีพลักษณ์ลักษณะดอกและผล และความสําเร็จการสืบพันธุ์ของผักบุ้งจิงจ้อเขาขาด (Remirema bracteata Kerr.) ในพื้นที่มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี | poster |
52 | ผศ. นุกูล ชิ้นฟัก | มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ | การท่องเที่ยวเชิงอาหาร
ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา |
oral |
53 | นางสาวนุชนาฏ รักกลิ่น | บริษัท ปตท. จำกัด(มหาชน) | การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับความหลากหลายทางชนิดและการแพร่กระจายของปูแสมในวงศ์ Sesarmidae บริเวณพื้นที่ป่าชายเลนปลูกศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | poster |
54 | นางสาวเนตรนภิศ เขจรักษ์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี | ปรสิตในปลาช่อน (Channa striata) บริเวณบึงขุนทะเล จังหวัดสุราษฎร์ธานี | poster |
55 | นายบารมี สกลรักษ์ | กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า
และพันธุ์พืช |
การใช้ประโยชน์จากเห็ดของชุมชนโดยรอบพื้นที่อุทยานแห่งชาติน้้าพองและ อุทยานแห่งชาติภูเวียง จังหวัดขอนแก่น | poster |
56 | นายปฐมพงศ์ พรามณีโชติ | สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ผลผลิตปฐมภูมิของปะการังดอกกะหล่ำ (Pocillopora damicornis) จากแหลมพันวา จ.ภูเก็ต |
oral |
57 | ดร.ปรวีร์ พรหมโชติ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | การมีอยู่ของกะท่างน้ำชนิด Tylototriton verrucosus
ในประเทศไทย |
poster |
58 | นายประพันธ์ ไตรยสุทธิ์ | มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี | ความหลากหลายของสาหร่ายขนาดใหญ่และไดอะตอมพื้นท้องน้ำในฝายราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ | poster |
59 | ดร.ประภาพรรณ ซอหะซัน | มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี | ผลของวัสดุเหลือใช้จากโรงงานอุตสาหกรรมเยื่อกระดาษต่อการเจริญของเส้นใยและผลผลิตเห็ดนางรมภูฏาน | oral |
60 | นายประเสริฐ ศรีกิติกุลชัย | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | อัตราส่วนที่เหมาะสมของวัสดุทำหัวเชื้อเห็ดเผาะ | poster |
61 | นางสาวปาริชาติ นิยมไทย | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ผลกระทบของเครื่องมือประมงที่มีต่อกองหินใต้น้ำในจังหวัดชุมพร | poster |
62 | นางสาวปิยธิดา บุญสนอง | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | เส้นรอบวงของต้นมังคุด (Garcinia mangostana L.) มีผลต่อความกว้างของ ทรงพุ่มและจำนวนดอกมังคุด | poster |
63 | นายพงษ์สวัสดิ์ คำสุนทร | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความหลากหลายของราย่อยสลายซากพืช ในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านเผ่าไทย จ. พิษณุโลก |
poster |
64 | นางพนิดา อุนะกุล | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราทะเลจากจังหวัดชลบุรี สตูลและตราด ประเทศไทยและฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ | poster |
65 | นางสาวพัชรพรรณ ไตรภพ | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | ความผันแปรภายในของคุณลักษณะเชิงฟังก์ชันของต้นไม้ชนิดพันธุ์เด่นที่พบในป่ารุ่นสองของอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ | poster |
66 | นางสาวพัชรีญา กรงาม | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ความหนาแน่น ขนาดตัว อัตราส่วนทางเพศ และลักษณะของรูปู Uca perplexa ในภาคใต้ของประเทศไทย | poster |
67 | นายพัน ยี่สิ้น | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | ชนิดและการแพร่กระจายของปูน้ำจืดในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ | oral |
68 | นางพุทธรักษ์ ชมนันติ | มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง | อนุกรมวิธานและวงศ์วานวิวัฒนาการของเชื้อราย่อยสลายจากต้นโกงกางในภาตใต้ของประเทศไทย | poster |
69 | นางสาวแพพลอย
ก้องสุรกานต์ |
มหาวิทยาลัยมหิดล | การพัฒนาสภาวะด้านร่างกาย รูปแบบกิจกรรมและการใช้พื้นที่อาศัยของวัวแดง (Bos javanicus d’Alton, 1823) ที่ถูกปล่อยคืนสู่ธรรมชาติในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าสลักพระ จังหวัดกาญจนบุรี | oral |
70 | นายไพโรจน์ เสนา | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | เครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายสำหรับการติดตามระบบนิเวศทางทะเลบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม | poster |
71 | นางสาวฟามิดา ฟาเซ็ต ทีน่า | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | รูปแบบการผสมพันธุ์และลักษณะของรูปูก้ามดาบในภาคใต้ของประเทศไทย | poster |
72 | นางสาวภัทราพร สิมหล่า | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | เครือข่ายความสัมพันธ์ในการผสมเกสรของพืชดอกพื้นล่างในป่าเต็งรังผสม
ก่อและสน อุทยานแห่งชาติน้ำหนาว จ.เพชรบูรณ์ |
poster |
73 | นายภากร นลินรชตกัญจน์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | อนุกรมวิธานของผึ้งในเผ่า Anthidiini (Hymenoptera Megachilidae) ในประเทศไทย |
oral |
74 | นางสาวมณีรัตน์ พบความสุข | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | รายงานการพบเห็ดสกุล Hohenbuehelia ที่ย่อยสลายไม้แต่มีคุณสมบัติจับไส้เดือนฝอยเป็นอาหารได้ | oral |
75 | นางมนัสวัณฏ์ แสงศักดา ภัทรธำรง | สถาบันทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ศึกษาความหลากหลายของปลาบริเวณแนวป่าชายเลนในทะเลสาบสงขลา
ตอนนอก |
poster |
76 | ดร.มาฆมาส สุทธาชีพ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ความหลากหลายของชนิดปะการังในบริเวณที่ตื้นของเขตพื้นราบของหมู่เกาะอ่างทอง อ่าวไทยฝั่งตะวันตก | poster |
77 | ดร.เมธิณี อยู่เจริญ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การศึกษาจุลพยาธิวิทยาเบื้องต้นบนเนื้อเยื่อปะการังโขดที่แสดงอาการ
สีชมพู |
poster |
78 | นางสาวรงรอง อ่างแก้ว | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี | ผลกระทบของพื้นที่ชายขอบที่เป็นถนนต่ออัตราการรอดของรังและลูกนกหลังออกจากรังในป่าเขตร้อน | poster |
79 | นางสาวรัชณีย์ แก้วศรีขาว | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ประเมินความสามารถเบื้องต้นของสาหร่ายใบมะกรูด (Halimeda macroloba) ในการลดคาร์บอนในบรรยากาศ | oral |
80 | นางรัชดา พรหมหาญ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | วิธีการเก็บรักษาเชื้อก่อโรคบนแมลงด้วยเทคนิคกระดาษกรอง | poster |
81 | นางสาวรัตนาวดี เนียมศิริ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การลงเกาะของตัวอ่อนปะการังจากชุดทดลองการลงเกาะบริเวณอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพรในช่วง
ปี พ.ศ. 2559-2560 |
poster |
82 | นางสาวละอองดาว จงรักษ์ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การสำรวจการท่องเที่ยวชมโลมาในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช ในปี พ.ศ. 2560 | poster |
83 | นายวรัตถ์ ศิวายพราหมณ์ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | การจัดทำบัญชีรายชื่อของสัตว์กลุ่ม arachnida ในประเทศไทย | oral |
84 | นายวัชระ สามสุวรรณ์ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การเกิดอาการโรคขาวในปะการังดอกเห็ด Fungia fungites บริเวณอ่าวไทยฝั่งตะวันตก | oral |
85 | นางสาววัชรี รวยรื่น | มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี | ประชาคมสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่บริเวณหาดเลนปากคลองกำพวน จังหวัดระนอง | poster |
86 | นางสาววัลยา กลิ่นทอง | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ความชุกชุมของไส้เดือนทะเลบนชุดทดลองบริเวณแนวปะการังหมู่เกาะชุมพร ในช่วงปี พ.ศ. 2559- 2560 | poster |
87 | นางสาววาสนา น้อยศรีภูมิ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ราก่อโรคในหนอนด้วงสกุล Ophiocordyceps 3 ชนิดใหม่ จากป่าชุมชนบ้านเผ่าไทย จังหวัดพิษณุโลก | poster |
88 | นายวิชิน สืบปาละ | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | การอนุรักษ์ความหลากหลายของสัตว์น้ำพลอยจับได้บริเวณหมู่เกาะช้าง
จ. ตราด |
oral |
89 | นางสาววินันท์ดา หิมะมาน | กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช | ความหลากหลายของแอคติโนมัยสีทเอนโดไฟต์จากกล้วยไม้ป่าในกลุ่มป่า
ภูเขียว-น้ำหนาว และศักยภาพในการสร้างสารส่งเสริมการเจริญเติบโต ของพืช |
poster |
90 | นางสาววิภาวรรณ อุ่นคงทอง | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การแพร่กระจายและความชุกชุมของหอยผีเสื้อ (Siliqua radiata) บริเวณหาดปากเมง จังหวัดตรัง | poster |
91 | นายวีระ ศรีอินทร์สุทธิ์ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การค้นพบราบันทึกใหม่ 3 ชนิดและบัญชีรายชื่อราดินจากแหล่งความร้อนใต้พิภพในประเทศไทย | poster |
92 | นางสาวศจี กองสุวรรณ | อีสต์ ฟอรั่ม | การสำรวจจำนวนและการแพร่กระจายของพลับพลึงธาร | oral |
93 | ผศ. ดร.ศราวุธ เจ๊ะโส๊ะ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | ชีววิทยา และการพัฒนาระบบเพาะเลี้ยงปลาพลวงชมพู
(Tor douronensis (Valenciennes, 1842)) ในจังหวัดยะลา |
poster |
94 | นายศรีคุณ ขาวงาม | สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง | ความหลากหลายของราแมลง Ophiocordyceps nutans จากภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย | poster |
95 | นางสาวศศิธร จินดามรกฎ | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความหลากหลายของยีสต์ที่คัดแยกจากเห็ดในประเทศไทย | poster |
96 | นางสาวศิริรัตน์ สมเชื้อ | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | ความหลากชนิดและพฤติกรรมการกินของปลาในแนวปะการังที่อ่าวขอนแค และอ่าวปะตก เกาะราชา จังหวัดภูเก็ต | poster |
97 | นางสาวศิริลักษณ์
รองประโคน |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การเปรียบเทียบปริมาณไมโครพลาสติกในมวลน้ำบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม และหาดปากเมง ในช่วงปี
พ.ศ. 2560 และ ปี พ.ศ. 2561 |
poster |
98 | นางสาวศุภกานต์ เผ่าด้วง | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การเปรียบเทียบการปนเปื้อนของไมโครพลาสติกในหอยผีเสื้อ (Siliqua radiata) บริเวณหาดแหลมสน
จังหวัดสตูล และบริเวณหาดปากเมง จังหวัดตรัง |
poster |
99 | ดร.สรายุทธ อ่อนสนิท | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การปกปักพื้นที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชหม้อข้าวหม้อแกงลิงเสือสุราษฎร์ Nepenthes suratensis | oral |
100 | นางสาวสลิลาพร นวลแก้ว | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การคัดกรองราเอนโดไฟต์จากบัวที่มีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียก่อโรค | poster |
101 | นายสัมพันธ์ ทองหนูนุ้ย | มหาวิทยาลัยมหิดล | ค่าความคงทนของปลาค้อภูเขาต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในแหล่งน้ำ: ประยุกต์เพื่อศึกษาถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อน | poster |
102 | ดร.สาทินี ซื่อตรง | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | ความหลากหลายทางชนิดพันธุ์ของราทะเลในจังหวัดสมุทรสาคร | poster |
103 | นางสายสมร ลำยอง | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | ข้อมูลทางสัณฐานวิทยาและอณูชีววิทยาสนันสนุนราเอนโดไฟท์สองสายพันธุ์ใหม่จากชาเมี่ยง (Camellia sinensis var. assamica) ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย |
poster |
104 | นายสิทธิพร เพ็งสกุล | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ความเหมาะสมของเกาะท้ายเพลาในเขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะอ่างทอง เพื่อการเป็นแหล่งดำน้ำ | oral |
105 | นายสิทธิศักดิ์ จันทรัตน์ | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี | พันธุศาสตร์เซลล์ของแย้เส้น (Leiolepis belliana) ในจังหวัดปัตตานี | oral |
106 | นางสาวสินัฐชญา
สงวนพฤกษ์ |
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี | ความหลากหลายของพืชสกุลมะเดื่อและไทร (Ficus L.) ที่ขึ้นริมฝั่งน้ำ ในพื้นที่หน่วยจัดการต้นน้ำซองกาเลีย อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี | poster |
107 | ผศ. ดร.สิริภัค สุระพร | มหาวิทยาลัยมหาสารคาม | ความหลากหลายทางโครงสร้างของผลึกโปรทีนและอนุภาคไวรัสของ BmNPV ที่เก็บจากหนอนไหมที่เลี้ยงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือของประเทศไทย | poster |
108 | นางสาวสิริวรรณ ณ บางช้าง | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | รายงานการพบเห็ดสกุล Favolus
ในประเทศไทย |
poster |
109 | นางสาวสุจินดา สมหมาย | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | การสำรวจผลผลิตของป่าในสถานีวนวัฒน์วิจัยหนองคู จังหวัดสุรินทร์ | poster |
110 | นางสาวสุธินี สินุธก | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | องค์ประกอบชนิดและการแพร่กระจายของพืชน้ำในทะเลน้อย จ.พัทลุง | poster |
111 | นายสุนิตสรณ์ พิพะสาลี | อิสระ | ปรง 2 ชนิดในอำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก : สถานภาพและการใช้ประโยชน์ | poster |
112 | ดร.สุพินญา บุญมานพ | สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ | การขยายพันธุ์เท้ายายม่อมเพื่อการอนุรักษ์ | oral |
113 | ดร.สุรพล ฐิติธนากุล | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตสุราษฏร์ธานี | การศึกษาสัณฐานวิทยาละอองเกสรหม้อข้าวหม้อแกงลิง Nepenthes mirabilis var. mirabilis,N. mirabilis var. globosa และ N. thorelii (suratensis) ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด | poster |
114 | นางสาวสุรีรัตน์ รัตนสมบูรณ์ | มหาวิทยาลัยมหิดล | คุณค่าทางโภชนาการและปริมาณโลหะหนักของสาหร่ายใบมะกรูด | poster |
115 | นางสาวสุไหรย้า บิลหนู | มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ | การสำรวจ แนวทางทางการพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพชุมชนนำเที่ยวชมโลมาในอำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช | poster |
116 | นางสาวหัทยา จิตรพัสตร์ | มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ | ความหลากชนิดและความชุกชุมของ salps ในบริเวณอ่าวไทยตอนใน | oral |
117 | นางสาวอนันตนิจ ชุมศรี | มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ | การศึกษาชนิดของลูกน้ำยุงและผู้ล่าในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช | poster |
118 | นางสาวอนุตตรา ณ ถลาง | ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ | เขตรอยต่อของป่ารุ่นเก่าและป่าทดแทนบริเวณแปลงวิจัยพลวัตป่ามอสิงโต อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ | poster |
119 | นายอรเทพ มือเสือ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | ความหลากหลายและความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืชในบริเวณแนวปะการังจังหวัดชลบุรีและจังหวัดพังงา | poster |
120 | นายอัครัช แสงอรุณ | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การเปรียบเทียบปริมาณไมโครพลาสติกในดินตะกอนบริเวณหาดเจ้าไหม จังหวัดตรัง | poster |
121 | ผศ. ดร.อาภาพร บุญมี | มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี | ฤทธิ์การยับยั้งเอนไซม์แอลฟากลูโคซิเดสของสารสกัดจากฝางในพื้นที่ประสบปัญหาจากการคุกคามของช้างป่า | poster |
122 | ผศ. ดร.อิศนันท์
วิวัฒนรัตนบุตร |
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง | การติดเชื้อแบคทีเรีย Wolbachia
การกระจายทางภูมิศาสตร์ และแหล่งที่อยู่ของลูกน้ำยุงในสกุล Aedes ในประเทศไทย |
poster |
123 | นางสาวอิสรีย์ รัตนศรี | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | การเปรียบเทียบปริมาณไมโครพลาสติกในหอยตะเภา (Donax scortum) และหอยเสียบ (Donax incarnates) บริเวณหาดปากเมง จังหวัดตรัง | poster |
124 | นายอุดมวิทย์ ไวทยการ | สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน | ศึกษาพฤกษศาสตร์พืชไร่พื้นเมืองภาคเหนือตอนบน (ลำปาง ลำพูน
น่าน พะเยา) |
poster |
125 | ดร.เอกลักษณ์ รัตนโชติ | สถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย | การแพร่กระจายของหญ้าทะเลและปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องบริเวณอุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม จ.ตรัง:ข้อมูลพื้นฐานและการประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการ | oral |